ระยะคอนกรีตหุ้มผิวเหล็ก (CONCRETE COVERING) มีระยะต่ำสุดที่เท่าไหร่
ระยะคอนกรีตหุ้มผิวเหล็กหรือระยะหุ้มของคอนกรีต (Concrete Covering) ก็คือระยะของคอนกรีตที่ทำหน้าที่ป้องกันไม่ให้เหล็กเสริมสัมผัสกับน้ำหรืออากาศโดยตรงเพื่อทำหน้าที่ป้องกันการกัดกร่อนของสารเคมี หรือป้องกันไม่ให้เหล็กเสริมทำปฏิกิริยากันเหล็กเสริมจนทำให้เกิดสนิมขุม และทำให้โครงสร้างสูญเสียความสามารถในการรับกำลังในที่สุด ทั้งนี้การวัดความหนาของระยะคอนกรีตหุ้มผิวเหล็กหรือระยะหุ้มของคอนกรีต ให้วัดจากผิวด้านนอกของคอนกรีตลึกเข้าไปจนถึงผิวด้านนอกของเหล็กปลอก (ในกรณีที่ไม่มีเหล็กปลอกก็ให้วัดถึงผิวของเหล็กเสริมเส้นนอกสุด) สำหรับระยะห่างระหว่างเหล็กเสริมนั้น ACI กำหนดให้ระยะช่องว่างน้อยที่สุดระหว่างเหล็กเสริมเท่ากับค่าที่มากกว่าของเส้นผ่าศูนย์กลางเหล็กเสริม DB, 2.5 ซ.ม. และ 1.33 เท่าของขนาดมวลรวมโตสุด โดยเหล็กนอนในคานทั้งหมดจะถูกห่อหุ้มโดยเหล็กปลอก ระยะหุ้มคอนกรีตต่ำสุดที่ … Read More
เมื่อเสาถูกยึดขึ้นไปในโครงสร้างที่เป็นคานชั้นบน หรือคานชั้นหลังคา
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ สืบเนื่องมาจากที่ก่อนหน้านี้มีรุ่นพี่วิศวกรที่ผมรักและเคารพท่านหนึ่งเคยมาปรึกษาผมเกี่ยวกับการเตรียมตัวสอบเพื่อเลื่อนขั้นเป็นวิศวกรในระดับสามัญ โดยมีคำถามๆ หนึ่งที่เค้านำมาสอบถามผมเกี่ยวกับเรื่อง ความจำเป็น (REQUIREMENT) ในการงอขอ (BAR BENT) เหล็กเสริมของเสา … Read More
ต่อเติมบ้าน แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถตอกชิดกำแพง หรือใกล้กระจกได้
ต่อเติมบ้าน แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถตอกชิดกำแพง หรือใกล้กระจกได้ ทางเลือกสำหรับงานต่อเติมบ้าน ต้องเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ สามารถเข้าทำงานในพื้นที่แคบ และตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. ไม่มีผลกระทบต่อกำแพงและกระจก เพราะในขณะตอกมีแรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย เสาเข็มเราได้รับการรับรองมาตรฐาน มอก. 397-2524 … Read More
ชนิดและประเภทของระบบของโครงสร้างแผ่นพื้น – แผ่นพื้นไม้เทียม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากเมื่อช่วงเวลาที่ผ่านมานั้นผมเคยได้นำเอาเรื่องชนิดและประเภทของระบบของโครงสร้างแผ่นพื้นมาแชร์เป็นความรู้กับเพื่อนๆ ทุกครั้งที่ผมมีโอกาสได้เดินทางไปยังสถานที่ก่อสร้างใดๆ ก็ตามแต่ผมก็พยายามที่จะเก็บและนำเอารูปถ่ายจากโครงสร้างจริงๆ เอามาฝากกับเพื่อนๆ ซึ่งในวันนี้ก็เช่นกัน เนื่องด้วยผมบังเอิญมีโอกาสได้ผ่านไปยังห้างคอมมิวนิตี้มอลล์แห่งหนึ่งซึ่งบริเวณด้านหน้าของห้างแห่งนี้มีการติดตั้งระบบแผ่นพื้นๆ หนึ่งเข้าไปบนโครงสร้าง ซึ่งเจ้าระบบแผ่นพื้นนี้ผมยังไม่เคยได้นำเอาอธิบายกับเพื่อนๆ นะแต่เป็นเพราะผมเห็นว่ามีความน่าสนใจดี ผมจึงตัดสินมจที่จะบันทึกภาพไว้และนำเอามาฝากกับเพื่อนๆ ในวันนี้ครับ ระบบของแผ่นพื้นที่ว่านี้ก็คือ … Read More