บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ตอกเสาเข็มไมโครไพล์ ต่อเติมภายในโรงงาน ที่สามารถตอกในพื้นที่จำกัดหรือพื้นที่แคบ ได้หรือไม่? มาดูตัวอย่างได้ที่นี่!

ตอกเสาเข็มไมโครไพล์ ต่อเติมภายในโรงงาน ที่สามารถตอกในพื้นที่จำกัดหรือพื้นที่แคบ ได้หรือไม่? มาดูตัวอย่างได้ที่นี่! บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The Provision of Pile … Read More

ต่อเติมภายในอาคาร ที่มีเพดานต่ำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) และไอไมโครไพล์ (I-Micropile) โดยภูมิสยาม 

ต่อเติมภายในอาคาร ที่มีเพดานต่ำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) และไอไมโครไพล์ (I-Micropile) โดยภูมิสยาม  ต่อเติมในพื้นที่จำกัด ที่มีพื้นเพดานต่ำ เราขอแนะนำ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ และไอไมโครไพล์ โดยภูมิสยาม เป็นเสาเข็มขนาดเล็ก เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานรากของอาคาร โรงงาน และงานปรับปรุงโครงสร้าง ที่ต้องการความั่นคงแข็งแรงสูง … Read More

เมื่อทำการเทคอนกรีตในแบบเสร็จ แล้วทำการแกะแบบออกมา จะพบว่าที่บริเวณผิวนั้นไม่เต็มหรือแหว่งไป

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับปัญหาๆ หนึ่งซึ่งหากว่าพวกเรานั้นเป็นเจ้าของอาคารหรือผู้ใช้งานอาคาร ก็อาจจะไม่เคยมีโอกาสได้พบเจอกับปัญหาๆ นี้กันเลยนะครับนั่นก็เป็นเพราะว่าปัญหานี้จะเกิดเฉพาะตอนที่ทำการก่อสร้างงานวิศวกรรมโครงสร้างเท่านั้น นั่นก็คือ การที่เมื่อทำการเทคอนกรีตลงไปในแบบเสร็จแล้วทำการแกะแบบออกมาก็จะพบว่าที่บริเวณผิวนั้นไม่เต็มหรือแหว่งไป ซึ่งในบางครั้งก็อาจจะทำให้เห็นเหล็กเสริมภายในชิ้นส่วนโครงสร้างเลยก็ได้ ซึ่งแน่นอนที่สุดว่าหากปล่อยเอาไว้ให้อยู่ในสภาพเช่นนี้นานๆ ก็อาจจะทำให้เกิดปัญหาในอนาคตแก่โครงสร้างนั้นๆ ได้นะครับ   จริงๆ แล้วสาเหตุของปัญหาๆ นี้อาจมีอยู่ด้วยกันหลายประการเลยนะครับ … Read More

ประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง โครงสร้าวราวกันตก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้รับปากกับเพื่อนๆ เอาไว้ในโพสต์ของเมื่อสัปดาห์ก่อนหน้านี้ว่า ภายในสัปดาห์นี้ที่เราจะได้กลับมาพบกันอีกครั้ง ผมก็จะขออนุญาตนำเอาเรื่องราวรายละเอียดเกี่ยวกับมาตรฐานการออกแบบที่เพื่อนๆ จะสามารถนำไปใช้ในการทำงานออกแบบโครงสร้างราวกันตกได้ซึ่งก็น่าที่จะเป็นการดีเหมือนกัน ซึ่งมาตรฐานการออกแบบนี้มีชื่อเสียงเรียงนามแบบเต็มๆ ว่า มยผ . 1321-61 มาตรฐานการออกแบบราวกันตกในอาคารจอดรถยนต์ ซึ่งออกโดยกรมโยธาธิการและผังเมือง … Read More

1 108 109 110 111 112 113 114 186