ขั้นตอนในการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เพื่อให้เนื้อหาของเรานั้นมีความต่อเนื่องจากเมื่อสองสัปดาห์ก่อน วันนี้ผมก็จะมาทำการยกตัวอย่างในการคำนวณหาค่า Ksv นี้ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน เรามาเริ่มต้นดูรายละเอียดของปัญหาข้อนี้กันเลยดีกว่านะครับ ผมมีฐานรากร่วมที่มีขนาดความยาวเท่ากับ 7.50 เมตร ความกว้างเท่ากับ … Read More
เทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า FEA
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More
วิธีในการคำนวณหาตำแหน่งที่จะใช้ เพื่อการคำนวณหาค่าการเสียรูปในทิศทางของแนวดิ่ง ที่มีค่ามากที่สุดในคานรับแรงดัด
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากโพสต์ก่อนหน้านี้ที่ผมเคยได้ทำการอธิบายไปว่า สำหรับกรณีที่โครงสร้างคานรับแรงดัดของเรานั้นมีจุดรองรับอยู่ที่ปลายของทั้งสองด้าน ค่าการโก่งตัวในแนวดิ่งสูงสุดหรือ MAXIMUM VERTICAL DEFLECTION จะเกิดขึ้นที่ตำแหน่งที่ค่ามุมของการหมุนหรือ ANGLE OF ROTATION นั้นมีค่า “น้อยที่สุด” … Read More
การวิเคราะห์และการประเมินโครงสร้างคาน (BEAM)
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง วิธีในการวิเคราะห์โครงสร้างว่าโครงสร้างที่เรากำลังทำการพิจารณาอยู่นั้นมีคุณลักษณะทางด้าน เสถียรภาพ (STABILITY) และ ในการวิเคราะห์โครงสร้างนั้นสามารถทำได้โดยวิธีอย่างง่าย (DETERMINATE) หรือ ต้องทำโดยวิธีอย่างยาก (INDETERMINATE) แก่เพื่อนๆ ต่อจากโพสต์ครั้งก่อนหน้านี้นะครับ โดยที่หัวข้อประเภทของโครงสร้างที่ผมตั้งใจนำมาฝากเพื่อนๆ ในวันนี้ จะเป็นการวิเคราะห์และการประเมินโครงสร้างคาน (BEAM) นั่นเองนะครับ โดยสมมติฐานของการวิเคราะห์คานนั้นเกือบที่จะเหมือนกับโครงสร้างโครงถักก่อนหน้านี้นะครับ … Read More