บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

KERN POINT

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้แอดมินจะมาให้ความรู้เกี่ยวกับคำว่า “KERN POINT” แก่เพื่อนๆ นะครับ ในวงการวิศวกรรมโยธาเราอาจเคยได้ยินคำว่า KERN POINT จากหลายๆ แหล่ง เช่น งานวิศวกรรมฐานราก งานวิศวกรรมโครงสร้าง เป็นต้น วันนี้เราจะได้มาทำความคุ้นเคยกับคำๆ นี้กันให้มากยิ่งขึ้นนะครับ ผมขอสมมติหน้าตัดขึ้นมาหนึ่งหน้าตัดนะครับ หน้าตัดนี้มี … Read More

การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว

การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว (WIND & SEISMIC ENGINEERING DESIGN หรือ WSE) นะครับ หลังจากที่เมื่อหลายวันก่อนหน้านี้ผมได้เล่าและแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องภัยอันตรายจาก นน … Read More

เสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ออกไป จากที่วิศวกรผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ ซึ่งวันนี้เป็นวันศุกร์วันแรกที่เราได้มาพบกันพบก็จะขอเริ่มต้นจากคำถามสดๆ ร้อนๆ ที่เพิ่งได้รับมาเมื่อวานจากน้องแฟนเพจผู้หญิงท่านหนึ่งซึ่งได้สอบถามเข้ามาโดยมีใจความของคำถามว่า “ขออนุญาตสอบถามเกี่ยวกับโพสต์ที่ผมเคยได้ทำการอธิบายถึงเรื่องกรณีที่โครงสร้างฐานรากที่เกิดปัญหาการที่เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไป (รูปที่ 1) ว่าเพราะเหตุใดเราจึงควรต้องทำการคำนวณหาว่าแรงปฏิกิริยาของเสาเข็มนั้นเป็นเท่าใดคะ ?” ซึ่งผมก็ได้ทำการตอบไปในเบื้องต้นว่า ถ้าหากเกิดเหตุการณ์ที่เสาเข็มของเรานั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปจากที่วิศวกรผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ … Read More

การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์

การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบวิศวกรรมพลศาสตร์ (STRUCTURAL DYNAMICS ENGINEERING หรือ SDE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวานนี้ผมได้โพสต์และแชร์ความรู้ให้แก่เพื่อนๆ ถึงค่า ความหน่วง หรือว่า “DAMPING” ในโครงสร้างไปแล้วพอสังเขป … Read More

1 136 137 138 139 140 141 142 186