บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การรับแรงดึงของเสาเข็ม เมื่อเสาเข็มวางอยู่ในดิน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เมื่อสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้ทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การรับแรงดึงของเสาเข็ม เมื่อเสาเข็มวางอยู่ในดินว่ามีความจำเป็นอย่างไรเราถึงต้องทำการออกแบบให้ต้องมี เหล็กเดือย หรือ DOWEL BAR ให้อยู่ในบริเวณรอยต่อระหว่างโครงสร้างเสาเข็มและฐานราก ปรากฏว่าวันนี้ก็มีภาพกรณี ตย ของการที่โครงสร้างที่ตัวเสาเข็มและฐานรากจะมีโอกาสต้องรับแรงดึงแต่ปรากฏว่าไม่มีการใส่เหล็กเดือยให้เห็นเลย … Read More

บ้านทรุด ต่อเติม ขยายโรงงาน เลือกใช้ เสาเข็มไมโครไพล์ สปัน ช่างรับเหมาต่างไว้ใจ

บ้านทรุด ต่อเติม ขยายโรงงาน เลือกใช้ เสาเข็มไมโครไพล์ สปัน ช่างรับเหมาต่างไว้ใจ   บริษัท ภูมิสยาม ซัพพลาย จำกัด ผู้นำกลุ่มธุรกิจเสาเข็มสปันไมโครไพล์ รายแรกและรายเดียวในประเทศไทย ที่ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 45001:2018 การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การให้บริการตอกเสาเข็ม The … Read More

เพิ่มเติม งานต่อเติมฐานราก อาคาร ครับ

  เพิ่มเติม งานต่อเติมฐานราก อาคาร ครับ สวัสดีครับ ช่วงนี้งานต่อเติม อาคาร ก็กำลังมาแรง วันนี้ Mr.SpunMan มีภาพการเตรียมต่อเติม ซ่อมแซม ฐานรากอาคาร มาฝากเพิ่มเติมครับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. โดย BSP-Bhumisiam … Read More

วิธีในการออกแบบโดมในเบื้องต้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมจะมาแนะนำให้เพื่อนๆ ได้รู้จักและเข้าใจวิธีในการออกแบบโดมในเบื้องต้นกันนะครับ โดยที่วิธีการที่ผมนำมาแชร์กับเพื่อนๆ ในวันนี้เป็นวิธีการโดยประมาณ (APPROXIMATE METHOD) ซึ่งจัดได้ว่าเป็นวิธีเชิงประสบการณ์ (EMPIRICAL METHOD) วิธีหนึ่งเพราะวิธีการนี้เป็นการดัดแปลงมาจากวิธีการออกแบบกำแพงรับแรง (BEARING WALL) เป็นหลักแต่ถูกทำการปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับคุณลักษณะต่างๆ ของโครงสร้างโดมนั่นเองครับ ดังนั้นหากเพื่อนๆ สนใจที่จะเรียนรู้ศาสตร์ทางด้านนี้จริงๆ ผมขอแนะนำให้เพื่อนๆ หา … Read More

1 142 143 144 145 146 147 148 186