บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างเหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการเฉลยและมา DISCUSS ร่วมกันกับเพื่อนๆ ถึงประเด็นคำถามที่ผมได้ฝากเอาไว้ตั้งแต่เมื่อวานนั่นก็คือ ตามปกติแล้วเมื่อเราทำการออกแบบโครงสร้างเหล็กที่มีหน้าตัดนั้นเป็น ชิ้นส่วนแท่ง หรือว่า BAR … Read More

คำสั่ง STAAD EDITOR

คำสั่งที่ถือว่าเป็น FEATURE หนึ่งในซอฟต์แวร์ทาง FINITE ELEMENT ที่มีชื่อว่า STAAD.PRO ซึ่งต้องถือว่ามีประโยชน์มากๆ นั่นก็คือ STAAD EDITOR STAAD EDITOR ก็คือ TEXT INPUT FORMAT ของตัวซอฟต์แวร์ ซึ่งจะสัมพันธ์กันกับ GRAPHICAL … Read More

“ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” ตัวอย่างในการคำนวณหาค่าหน่วยแรงเค้นประสิทธิผลของชั้นดินที่มีความซับซ้อน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ ก่อนหน้านี้ผมเคยได้ทำการอธิบายพร้อมกับยกตัวอย่างในการคำนวณหาค่า หน่วยแรงเค้นประสิทธิผล หรือ EFFECTIVE STRESS หรือที่พวกเรานิยมเขียนด้วยตัวย่อว่า σ’ ให้กับเพื่อนๆ ในเพจของเราไปแล้ว ซึ่งถ้าผมจำไม่ผิดตัวอย่างในวันนั้นค่อนข้างจะเป็นตัวอย่างที่มีความตรงไปตรงมามาก … Read More

รอยแตกในผนังอิฐก่อใต้พื้นชั้นล่างของอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อช่วงเวลาตลอดสัปดาห์ที่ผ่านมาก่อนหน้านี้ผมได้ทำการพูดถึงและหยิบยกและนำเอาประเด็นของการที่อาคารนั้นเกิดการวิบัติเนื่องจากปัญหาของการที่เราละเลยในเรื่องของสภาพชั้นดินซึ่งในตัวอย่างที่ผมนำเอามาให้เพื่อนๆ ได้รับชมนั้นก็จะเป็นปัญหาที่มีความใหญ่มากเลยทีเดียวและเมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมาผมก็ได้นำเอาปัญหาที่ต้องถือว่ามีความเล็กน้อยหรือเบาบางกว่าปัญหาในกรณีก่อนหน้านี้เป็นอย่างมากแต่ในขณะเดียวกันก็ได้สร้างความปวดเศียรเวียนเกล้าให้แก่เจ้าของบ้านไม่น้อยเลยทีเดียวเอามาฝากเพื่อนๆ ด้วยซึ่งจะเป็นกรณีที่ทางเจ้าของบ้านได้ทำการต่อเติมส่วนหลังคากันสาดเหล็กออกมา โดยที่ปลายข้างหนึ่งนั้นยึดเข้ากับตัวบ้านเดิมและปลายอีกข้างหนึ่งนั้นก็ถูกยึดเข้ากับโครงสร้างพื้นที่ไม่ได้ทำการลงเสาเข็มใดๆ เอาไว้เลย ซึ่งพอเวลาผ่านไปผลที่ได้ตามมาก็คือ โครงสร้างพื้นที่ไม่ได้ทำการลงเสาเข็มใดๆ เอาไว้ก็เกิดการทรุดตัวลงไป ซึ่งจากการสอบถามไปยังเจ้าของบ้านก็ได้รับคำยืนยันมาว่า โครงสร้างส่วนต่อเติมนี้เพิ่งจะมีการก่อสร้างมาได้เพียงไม่กี่ปีเท่านั้นแต่จากในรูปเพื่อนๆ … Read More

1 165 166 167 168 169 170 171 186