วัสดุคอนกรีตสำหรับใช้ในการเทงานที่ต้องใช้สลิปฟอร์มเป็นแบบหล่อ
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากมีสัปดาห์ที่แล้วผมโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่องวัสดุคอนกรีตให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกันปรากฏว่ามีรุ่นน้องท่านหนึ่งได้หลังไมค์มาถามผมว่า อยากให้ผมอธิบายหน่อยได้หรือไม่ว่า เหตุใดเวลาที่จะสั่งคอนกรีตผสมเสร็จเพื่อที่จะนำมาใช้เทโครงสร้างจำพวกสลิปฟอร์ม เราถึงจำเป็นที่จะต้องสั่งเป็นพิเศษว่าต้องการคอนกรีตสำหรับงานสลิปฟอร์มด้วย เพราะน้องท่านนี้สงสัยมานานมากแล้วน่ะครับ ด้วยความยินดีเลยครับ ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงวัสดุคอนกรีตสำหรับใช้ในการเทงานที่ต้องใช้สลิปฟอร์มเป็นแบบหล่อกันนะครับ … Read More
พิธีรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์
พิธีรับรองคุณภาพ Endoresed Brand จาก SCG ตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ด้วยการรับรองคุณภาพนี้ ลูกค้าจึงมั่นใจได้ว่าผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ผลิตจากปูนซีเมนต์เอสซีจีเป็นวัตถุดิบหลัก ถือเป็นการตอกย้ำความน่าเชื่อถือ ด้านการตอกเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ เพื่อการติดตั้งในพื้นที่แคบ สำหรับการต่อเติมบ้าน แก้ไขปัญหาอาคารทรุด ปรับปรุงโรงงาน ฯลฯ โดยปูนเอสซีจีได้รับการรับรองคุณภาพตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ประเภท 3 … Read More
สปันไมโครไพล์ ต่อเติมบ้าน ตอกเสาเข็มชิดกำแพง
สปันไมโครไพล์ ต่อเติมบ้าน ตอกเสาเข็มชิดกำแพง เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (SPUN MICRO PILE) ตอกชิดกำแพงได้ หมดปัญหาเรื่องบ้านทรุด เมื่อจะต่อเติมบ้านและต้องตอกเสาเข็มชิดกำแพง หรือตอกชิดผนังบ้าน แนะนำเสาเข็ม สปันไมโครไพล์แท้ ภูมิสยาม จะต่อเติมบ้าน ปรับปรุงบ้าน หรือสร้างใหม่ ต้องใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์แท้ เพราะมีรูกลมกลวงตรงกลางเมื่อตอกแล้ว จะไม่กระทบฐานรากหรือเสาเข็มเดิมของตัวบ้าน … Read More
ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร
ตารางแสดงค่าความลึกของหลุมเจาะที่ควรใช้ในการทดสอบดินที่มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับขนาดและความสูงของอาคาร หากขึ้นชื่อว่าเป็นวิศวกรที่ดี เรามักที่จะต้องเป็นนักปฎิบัติงานที่ต้องทำงานภายใต้มาตรฐานการทำงานที่ดีและมีความเชื่อถือได้ ทั้งนี้เพราะเมื่อต้องนำหลักการหนึ่งหลักการใดจากมาตรฐานเหล่านี้ไปปฎิบัติใช้ในการทำงานจริงๆ ได้เราก็ต้องสามารถที่จะอ้างอิงไปยังมาตรฐานนั้นๆ ได้ด้วยนะครับ ซึ่งผมถือว่าส่วนหนึ่งของคำถามข้อนี้นั้นเป็นความบกพร่องของผมเองนะครับที่ไม่ได้ทำการกล่าวอ้างอิงถึงแหล่งที่มาของข้อมูลๆ นี้นะครับ ยังไงผมจะขออนุญาตเก็บประเด็นนี้เอาไว้เพื่อที่จะดำเนินการแก้ไขในการโพสต์ครั้งต่อๆ ไปนะครับ เอาเป็นว่าผมขออนุญาตตอบคำถามข้อนี้เลยก็แล้วกันนะครับ ข้อมูลที่ผมได้ให้คำแนะนำไปกับเพื่อนๆ ไปนั้นมีการอ้างอิงมาจากเอกสารหนังสือ แนวทางการตรวจสอบชั้นดินเพื่องานฐานราก ในหน้าที่ 13 ถึง 14 ซึ่งได้จัดทำโดยวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย โดยเป็นเอกสารที่ถูกพิมพ์ไปเมื่อปี … Read More