บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็มไมโครไพล์ เพื่อ การต่อเติม ฐานราก บ้านพักอาศัย อาคาร พื้นที่โครงสร้างเดิม สปันไมโครไพล์แท้ ภูมิสยามฯ ตอบโจทย์ทุกการต่อเติมและสร้างใหม่

เสาเข็มไมโครไพล์ เพื่อ การต่อเติม ฐานราก บ้านพักอาศัย อาคาร พื้นที่โครงสร้างเดิม สปันไมโครไพล์แท้ ภูมิสยามฯ ตอบโจทย์ทุกการต่อเติมและสร้างใหม่ สปันไมโครไพล์แท้ มาตรฐาน มอก. ภูมิสยาม เสาเข็มที่รองรับงานต่อเติมเพื่อป้องกันการทรุด ตามที่วิศวกรออกแบบ จะนิยมใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน มอก. 397-2524 … Read More

วิธีในการเลือกใช้งาน เสาเข็มแต่ละประเภท เพื่อให้เหมาะสมกับงานก่อสร้างแต่ละงาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยในวันนี้เนื้อหานั้นจะเกี่ยวข้องกับเรื่องที่มีความน่าสนใจประการหนึ่งนั่นก็คือ ผู้ออกแบบมีวิธีอย่างไรในการเลือกใช้งานเสาเข็มแต่ละประเภทเพื่อให้เหมาะสมกับงานก่อสร้างแต่ละงาน เพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะมีความเชื่อว่า ในการเลือกชนิดหน้าตัดของเสาเข็มนั้นผู้ออกแบบจะทำการเลือกหน้าตัดของเสาเข็มให้เป็นหน้าตัดชนิดใดๆ ชนิดหนึ่งก็ได้ ซึ่งถือว่าความคิดนี้ไม่ถูกต้องนัก เพราะ หากเพื่อนๆ ลองคิดตามหลักการทางด้านวิศวกรรมและหลักทางด้านความเป็นจริงดูก็จะพบว่า … Read More

การนำเอา KernPoint มาช่วยพิจารณาว่าจะเกิดแรงเค้นดึงขึ้นในหน้าตัดโครงสร้างหรือไม่

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งในวันนี้ผมยังคงอยู่นอกสถานที่อยู่ ยังไม่สะดวกที่จะทำการอัดคลิปให้แก่เพื่อนๆ ผมจึงจะขออนุญาตที่จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” ก่อนนะครับ อย่างที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าในสัปดาห์นี้เราจะมาดูตัวอย่างง่ายๆ กันสักหนึ่งข้อเกี่ยวกับเรื่องการคำนวณหาว่า ภายในหน้าตัดโครงสร้างของเรานั้นจะเกิดแรงเค้นดึงหรือ TENSILE STRESS ขึ้นหรือไม่โดยอาศัยการคำนวณจากค่า KERN POINT … Read More

ออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE)

หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง คอนกรีต (STRUCTURAL CONCRETE ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) เพื่อนๆ ทราบหรือไม่ครับว่าในการออกแบบชิ้นส่วนโครงสร้าง คสล นอกจากเราจะต้องทำการออกแบบให้โครงสร้างต้องสามารถรับ แรงดัด (FLEXURAL FORCE) ได้เรายังต้องทำการออกแบบให้โครงสร้างสามารถที่จะต้านทานต่อ แรงอื่นๆ เช่น แรงเฉือน (SHEAR … Read More

1 40 41 42 43 44 45 46 186