บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ALIGNMENT CHART เพื่อจุดประสงค์ในการคำนวณหาค่า EFFECTIVE LENGTH FACTOR หรือค่า K

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกันกับหัวข้อ การออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้าง เหล็ก (STRUCTURAL STEEL ENGINEERING DESIGN หรือ SCE) นะครับ เนื่องจากเมื่อวันจันทร์ที่ผ่านมานั้นผมได้โพสต์และอธิบายถึงเรื่องวิธีในการคำนวณหาค่า EFFECTIVE LENGTH FACTOR หรือค่า K เมื่อเราต้องทำการออกแบบโครงสร้างเหล็กรับแรงอัดโดยใช้ ALIGNMENT … Read More

ต่อเติมบ้าน แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถตอกชิดกำแพง หรือใกล้กระจกได้ 

ต่อเติมบ้าน แนะนำใช้เสาเข็ม สปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถตอกชิดกำแพง หรือใกล้กระจกได้  ทางเลือกสำหรับงานต่อเติมบ้าน ต้องเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ สามารถเข้าทำงานในพื้นที่แคบ และตอกชิดกำแพงได้ 50 ซม. ไม่มีผลกระทบต่อกำแพงและกระจก  เพราะในขณะตอกมีแรงสั่นสะเทือนน้อย ไม่ทำให้โครงสร้างเดิมเสียหาย เสาเข็มเราได้รับการรับรองมาตรฐาน มอก. 397-2524 … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างเหล็กแผ่น

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างเหล็กแผ่น ประเภทของการออกแบบและการใช้งานโครงสร้างเหล็กแผ่นที่จะมีหน้าที่ในการรับแรงอัดจากเสาเหล็ก หรือเรียกง่ายๆ ว่าโครงสร้าง BASE PLATE มีทั้งหมด 2 ประเภทด้วยกัน ประเภทที่ 1 แบบที่ไม่มีการเทให้เต็มด้วยซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัวหรือ NON-SHRINK GROUT ประเภทที่ 2 แบบที่มีการเทให้เต็มด้วยซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัว หากสังเกตดูจากรูป ใต้เหล็กแผ่นจะมีการเทให้เต็มด้วย NON-SHRINK … Read More

ปัญหาจากเสาเข็มชำรุด

ปัญหาจากกำแพงบ้านและตัวบ้านชำรุดหรือทรุด สาเหตุที่ทำให้เสาเข็มชำรุด มีหลายสาเหตุเนื่องจาก เสาเข็มไมได้คุณภาพ เช่น อัตราส่วนผสมของปูน หิน ทราย ผสมไม่ได้อัตราสัดส่วนที่พอดี พอก่อสร้างได้สักระยะ ก็เกิดการสึกกล่อน หินกระเทาะออก และทำให้โครงสร้างชั้น ทรุดไปด้วย  และมีอีกหนึ่งสาเหตุ คือ ฐานราก ไม่มันคง คือเสาเข็มใต้พื้นดินรับน้ำหนัก ไม่เพียงพอ … Read More

1 4 5 6 7 8 9 10 186