บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

สาเหตุที่ทำให้เกิดข้อบกพร่อง และไม่เรียบร้อยขึ้นในงานการก่อสร้างกำแพงกันดินชนิดขุดและหล่อ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   เนื่องจากก่อนหน้านี้ผมได้นำเอาความรู้เกี่ยวกับเรื่องการใช้งานและการก่อสร้างโครงสร้างกำแพงกันดินชนิดขุดและหล่อหรือ DIAPHRAGM WALL เอามาฝากเพื่อนๆ กันไปแล้ว วันนี้ผมจะขออนุญาตนำเอาประเด็นๆ หนึ่งที่มีความสำคัญเกี่ยวข้องกันกับโครงสร้างกำแพงกันดินชนิดขุดและหล่อเอามาฝากเพื่อนๆ กันสักเล็กน้อยนั่นก็คือ สาเหตุที่ทำให้เกิดข้อบกพร่องและไม่เรียบร้อยขึ้นในงานการก่อสร้างโครงสร้างกำแพงกันดินชนิดขุดและหล่อนั่นเองนะครับ … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้าง

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างที่อยู่ เหนือพื้นดินขึ้นมา และ ใต้พื้นดินลงไป มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ วันนี้ผมจะมาทำการขยายความคำตอบจากคำถามของเพื่อนสมาชิกของพวกเราท่านหนึ่งที่ได้กรุณาฝากคำถามเข้าในเพจส่วนตัวของผมโดยมีใจความว่า   “พี่ครับ บ้านผมอยู่จังหวัด ……… (จังหวัดหนึ่งทางภาคอีสาน) หากที่บ้านของผมเค้าอยากจะทำการก่อสร้างพื้นตรงบริเวณโรงจอดรถที่มีหลังคาคลุม ไม่ทราบว่าผมจะต้องบอกให้ทางพี่ ผรม ทำการเทพื้นหนาเท่าไหร่ดีและควรจะต้องเสริมด้วยเหล็กขนาดเท่าใดและกำหนดให้มีระยะห่างเท่าใดดีครับ ?” … Read More

การระบุหน่วยในรายการคำนวณ

การระบุหน่วยในรายการคำนวณ เนื่องจากรุ่นน้องท่านนี้ไปเห็นรายการคำนวณการออกแบบโครงสร้างของผม และ ไปเห็นว่า หน่วยที่ผมใช้นั้นแปลกๆ คือ ผมตั้งใจที่จะเขียนตัวเลขในพจน์นั้นเป็น แรง (FORCE) ที่มีหน่วยเป็น กก (kg หรือ kilogram) ผมจึงเขียนตัวย่อในรายการคำนวณว่า kgf หรือ kilogram-force น้องท่านนี้จึงได้ถามกับผมว่า เหตุใดผมจึงต้องเขียนเช่นนี้ … Read More

หลักการในการออกแบบอาคารให้สามารถที่จะต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ จริงๆ วันนี้ผมอยากที่จะอธิบายถึงหัวข้อๆ ใหม่ซึ่งจะว่าด้วย หลักการในการออกแบบอาคารให้สามารถที่จะต้านทานต่อแรงกระทำจากแผ่นดินไหว แต่ ผมก็แอบกังวลว่าเมื่ออธิบายไปแล้วเพื่อนๆ หลายๆ คนอาจจะไม่เข้าใจความหมายหรือนิยามของคำศัพท์ที่ใช้ในหัวข้อนี้ ดังนั้นในวันนี้ผมจึงอยากที่จะขออนุญาตมาให้คำนิยามรวมถึงอธิบายความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเสียก่อน ทั้งนี้ก็เพื่อเวลาที่ผมนั้นทำการอธิบายเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับเรื่องๆ นี้เพื่อนๆ จะได้มีความรู้และความเข้าใจได้ง่ายยิ่งขึ้นนะครับ   … Read More

1 67 68 69 70 71 72 73 186