บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มที่เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานรากอาคาร โรงงาน สามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) เสาเข็มที่เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานรากอาคาร โรงงาน สามารถรับน้ำหนักได้อย่างปลอดภัย เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่ผลิตโดยใช้นวัตกรรมแบบใหม่ ด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย เป็นเทคโนโลยีจากประเทศเยอรมัน เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานรากของอาคาร โรงงาน ที่ต้องการความั่นคงแข็งแรงสูง สามารถรองรับน้ำหนักเครื่องจักรได้อย่างปลอดภัย ทดสอบการรับน้ำหนักโดยวิธี Dynamic Load Test พร้อมรับประกันผลงานนานถึง … Read More

เกี่ยวกับบริษัท-รับรองคุณภาพจาก SCG

    รับรองคุณภาพจาก SCG Certificate Endorsed Brand from SCG Caculation of Spun Micro Pile from SCG Cement Result of Analysis … Read More

เสาเข็มต่อเติม – สปันไมโครไพล์ มอก. เพื่อต่อเติมบ้าน

สปันไมโครไพล์ มอก. เพื่อต่อเติมบ้าน สวัสดีเช้าวันอาทิตย์ครับ ช่วงนี้งานต่อเติมบ้าน ต่อเติมอาคาร หรือสร้างอาคารใหม่ ที่ให้บริการโดย BSP ภูมิสยาม มาแรง และ ได้รับการตอบรับอย่างต่อเนื่อง วันนี้ Mr.SpunMan มีภาพการเตรียมงานต่อเติมบ้าน แบบชิดกำแพง มาฝากครับ เสาเข็มสปันไมโครไพล์ มาตรฐาน … Read More

ความรู้และวิธีการอ่านข้อมูล รวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมาที่ผมอยู่ที่ไต้หวันได้มีเพื่อนบนเฟซบุ้คของผมท่านหนึ่งได้สอบถามกันเข้ามาถึงเรื่องๆ หนึ่งและผมก็ได้รับปากว่า เมื่อใดที่ผมกลับมาที่ประเทศไทยเมื่อใดผมจะรีบดูให้ ซึ่งประเด็นและใจความของคำถามข้อนี้นมีดังต่อไปนี้ครับ   “ผมกำลังจะทำการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างอาคารโรงงานในจังหวัดทางภาคอีสาน โดยที่ต้องการจะใช้ระบบฐานรากแบบตื้นหรือ SHALLOW FOUNDATION โดยที่ผมตั้งใจที่จะทำการจำลองให้จุดรองรับนั้นเป็นแบบที่สามารถเสียรูปได้หรือ FLEXIBLE … Read More

1 5 6 7 8 9 10 11 186