ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งาน
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อช่วงเวลาประมาณปลายๆ สัปดาห์ที่แล้วคุณโอ CEO หนุ่มรูปหล่อของภูมิสยามได้ต่อสายหาผม รบกวนให้ผมช่วยติดตามสอบถามไปยังลูกค้าท่านหนึ่งของคุณโอ เนื่องด้วยลูกค้าท่านนี้มีคำถามเกี่ยวกับรายการคำนวณเรื่องการตอกเสาเข็ม หรือ PILE DRIVEN CALCULATION ผมจึงได้ต่อสายและพูดคุยกับลูกค้าท่านนี้ให้ … Read More
กรณีที่อาคารส่วนต่อเชื่อมกันเหิดการทรุดตัวที่ไม่เท่ากัน
สวัสดีครับแฟนเพจทุกๆ ท่าน หลังจากเมื่อ 2 วันที่ผ่านมาเราพูดคุยกันถึงเนื้อหาหนักๆ เกี่ยวกับเรื่องทฤษฎีการวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้าง คสล กันมาหลายวันแล้ว วันนี้แอดมินจะมาขอพูดคุยถึงเนื้อหาที่เบาๆ ลงมาบ้างครับ เนื่องจากเมื่อหลายวันก่อนแอดมินมีโอกาสได้แวะไปละหมาดที่มัสยิดและไปเจอเคสกรณีที่อาคารส่วนต่อเชื่อมกันเหิดการทรุดตัวที่ไม่เท่ากันมาฝากเพื่อนๆ นะครับ จะเห็นว่าอาคารมัสยิด คือ ส่วนที่มีการก่อสร้างก่อน ส่วนอาคารเรียน คือ ส่วนที่ก่อสร้างทีหลัง และทั้งสองอาคารนี้เชื่อมต่อกันด้วยบันไดที่ทำยื่นมาจากอาคารเรียน (CANTILEVER … Read More
คาร์โล อัลเบอร์โต้ คาสติเกลียโน นักคณิตศาสตร์ แห่งศตวรรษที่ 18
สวัสดีครับเพื่อนๆ ที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้บุคคลคนที่สามที่ผมนำประวัติของท่านมาเล่าสู่กันฟังกับเพื่อนๆ นั้นเป็นนักคณิตศาสตร์ที่เก่งมากอีกท่านหนึ่งแห่งศตวรรษที่ 18 เลยก็ว่าได้ครับ ที่สำคัญท่านเป็นบุคคลที่เป็นไอด้อลส่วนตัวของผม เพราะผมชื่นชอบในผลงานของบุคคลท่านนี้มากๆ เพราะไม่ว่าจะเป็นทฤษฎีส่วนตัวของท่าน หรือ ทฤษฎีอื่นๆ ทีไ่ด้รับการต่อยอดสืบไปจากทฤษฎีของท่านก็ล้วนแล้วแต่มีความคลาสสิคในตัวของมันเองอย่างมากมายจริงๆ โดยที่บุคคลท่านนี้ก็คือ คาร์โล อัลเบอร์โต้ คาสติเกลียโน คาร์โล อัลเบอร์โต้ คาสติเกลียโน … Read More
การออกแบบเสาเข็ม
สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่านครับ (รูปที่ 1) วันนี้ผมจะขอมาเอาใจวิศวกรภูธรกันบ้างนะครับ แหะๆ ผมล้อเล่นนะครับ ที่ผมพูดแบบนี้เพราะในหลายวันที่ผ่านมาผมได้พูดถึงค่า PARAMETER ที่สำคัญของดินไปหลายค่ามากๆ ซึ่งเมื่อเราได้ทำการทดสอบและคำนวณค่าเหล่านี้มาได้ เรามักต้องนำข้อมูลเหล่านี้ไปทำการออกแบบเสาเข็ม ซึ่งฐานรากที่ต้องเป็นระบบเสาเข็ม (ดูรูปที่ 1 ขวามือ) เราจะเรียกว่า ระบบฐานรากลึก (DEEP FOUNDATION) … Read More