ที่มาของสมการที่ใช้ในการคำนวณหาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึงภายในหน้าตัดของโครงสร้างคานคอนกรีตเสริมเหล็ก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากเมื่อประมาณ 2-3 สัปดาห์ที่ผ่านมามีเพื่อนของผมท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์สอบถามผมเข้ามาเกี่ยวกับประเด็นๆ หนึ่งซึ่งมีความเกี่ยวข้องกันกับ สมการที่ใช้ในการคำนวณหาปริมาณของเหล็กเสริมรับแรงดึงภายในหน้าตัดของโครงสร้างคาน คสล ว่าเพราะเหตุใดหน้าตาของสมการจึงออกมาดังรูปที่ได้แสดงประกอบอยู่ในโพสต์ๆ นี้ ? ซึ่งผมก็ได้ตอบไปในแชทแทบจะในทันทีเลยว่า … Read More

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ คืออะไร? ทำไมถึงเป็นที่นิยมในการต่อเติม? ภูมิสยามมีคำตอบ!!

เสาเข็มสปันไมโครไพล์ คืออะไร? ทำไมถึงเป็นที่นิยมในการต่อเติม? ภูมิสยามมีคำตอบ!! หากต้องการเสาเข็ม เพื่อใช้ในการต่อเติมโรงงาน เลือกใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ได้ไหม? ด้วยเสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก. และ การผลิตที่ใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัย จากประเทศเยอรมัน ทำให้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ เป็นเสาเข็มที่มีความมั่นคงแข็งแรงสูง จากคอนกรีตที่หนาแน่น และมีโครงเหล็กฝังอยู่ในเนื้อคอนกรีตโดยรอบ ทำให้สามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มสภาพชั้นดิน … Read More

ภูมิปัญญาของช่างไทยในอดีตกับงานออกแบบและก่อสร้างระบบฐานรากของอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ เมื่อสัปดาห์ก่อนผมมีโอกาสได้ไปทำงานออกแบบโครงสร้างฐานรากรองรับเครื่องจักรในบริเวณโรงพยาบาลพระมงกุฎ ซึ่งผมได้จอดรถไว้ที่อาคารจอดรถของทางโรงพยาบาล พอเดินออกมาที่หน้าประตูด้านที่ติดกับถนนใหญ่ที่จะมุ่งหน้าไปที่ฝั่งอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิผมก็ไปเจอกับกลุ่มอาคารเก่าแก่อยู่หลายหลังซึ่งตั้งอยู่ภายในโรงพยาบาลแห่งนี้ด้วย ซึ่งในระหว่างที่รอที่จะไปคุยงานผมก็ได้มีโอกาสเดินสำรวจดูสิว่า ลักษณะและรูปทรงต่างๆ ของอาคารหลังนี้นั้นเป็นอย่างไรและผมก็ได้พบว่า อาคารดังกล่าวนี้ยังคงความสวยงามตรงตามลักษณะต่างๆ ทางด้านงานสถาปัตยกรรมของอาคารที่มีการก่อสร้างขึ้นในสมัยโบราณ ทำให้เข้าใจได้เลยว่าเพราะเหตุใดทางโรงพยาบาลจึงเลือกที่จะทำการอนุรักษ์อาคารหลังนี้เอาไว้ให้คนรุ่นหลังๆ ได้มีโอกาสมารับชมกันน่ะครับ … Read More

สร้างใหม่ หน้างานขนาดใหญ่ ไว้ใจ เสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile ภูมิสยาม เสาเข็มมาตรฐาน มอก.

สร้างใหม่ หน้างานขนาดใหญ่ ไว้ใจ เสาเข็มไอไมโครไพล์ I Micropile ภูมิสยาม เสาเข็มมาตรฐาน มอก. สร้างใหม่เราขอแนะนำ เสาเข็มไอไมโครไพล์ ของภูมิสยาม เป็นเสาเข็มรูปตัวไอ เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานราก ไม่ว่าจะต่อเติม หรือใช้เป็นฐานราก สำหรับโครงสร้างอาคารใหม่ โดยเสาเข็มจะรับน้ำหนักจากโครงสร้างทั้งหมด และถ่ายเทลงสู่ชั้นดิน ดังนั้นการตอกเสาเข็มจึงมีความจำเป็นที่จะต้องตอกให้ลึกถึงชั้นดินทรายแข็ง … Read More

การตรวจสอบว่าตำแหน่งในโครงสร้างเสาเข็ม ทำให้จุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มโครงสร้างเสาเข็ม ตรงกันกับตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของโครงสร้างฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากเมื่อวันอังคารที่ผ่านมาซึ่งผมได้ทำการอธิบายถึงเรื่อง การแก้ไขโครงสร้างฐานรากที่ใช้เสาเข็มโดยการเพิ่มจำนวนของโครงสร้างเสาเข็มเข้าไป ซึ่งผมได้อธิบายไว้ว่า หลักการที่ง่ายที่สุดในการเพิ่มคือ ให้ทำการเพิ่มจำนวนของเสาเข็มให้อยู่ตรงกันกับตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของโครงสร้างฐานราก หรือ หากทำเช่นนั้นไม่ได้ก็ให้ทำการตรวจสอบว่าตำแหน่งในการโครงสร้างเสาเข็มนั้นทำให้จุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มโครงสร้างเสาเข็มให้ตรงกันกับตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของโครงสร้างฐานรากน่ะครับ ซึ่งในวันนั้นผมเองก็ได้ให้คำแนะนำกับเพื่อนๆ ไว้ด้วยว่า สมการในการตรวจสอบตำแหน่งของจุดศูนย์ถ่วงของกลุ่มโครงสร้างเสาเข็มนั้นก็คือสมการ … Read More

ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม การตอกเสาเข็มแซมในโครงสร้างฐานราก

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม ที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ ผมขอทำการสมมติว่า เพื่อนๆ ต้องทำหน้าที่เป็นผู้ออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างในโครงการก่อสร้างแห่งหนึ่ง โดยที่ผมขอทำการสมมติให้ข้อมูลของโครงสร้างเสาเข็มที่จะสามารถนำมาใช้ในการก่อสร้างในโครงการแห่งนั้นเป็นไปตามข้อมูลดังต่อไปนี้ โครงสร้างเสาเข็มรูปตัวไอขนาด 180 … Read More

ตอกเสาเข็มภายในอาคาร ปรับปรุงโครงสร้างภายในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม

ตอกเสาเข็มภายในอาคาร ปรับปรุงโครงสร้างภายในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micropile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม ตอกเสาเข็มปรับปรุงอาคาร เพิ่มมาตรฐานการรับน้ำหนักให้กับโครสร้างภายในอาคาร ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ และเสาเข็มไอไมโครไพล์ ภูมิสยาม เป็นเสาเข็มที่เหมาะสำหรับใช้เป็นฐานรากของอาคาร โรงงาน และงานปรับปรุงโครงสร้าง ที่ต้องการความั่นคงแข็งแรงสูง เพราะ เสาเข็มผลิตโดยใช้กรรมวิธีการเหวี่ยงคอนกรีตในแบบหล่อ ทำให้เสาเข็มมีความหนาแน่นและแข็งแกร่งกว่าคอนกรีตที่หล่อด้วยวิธีธรรมดา … Read More

โครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณหรือ BEAM BEARING PLATE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันจันทร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เอาอีกแล้ว ในสัปดาห์นี้ผมก็ยังคงตั้งใจที่จะทำการขึ้นหัวข้อใหม่แล้วแต่สืบเนื่องจากผมได้รับการสอบถามเข้ามาเกี่ยวกับคำถามว่า ที่ผ่านมาผมได้ทำการพูดถึงเรื่องวิธีในการออกแบบโครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างเสาเหล็กรูปพรรณหรือ COLUMN BEARING PLATE ไปแล้วแต่เท่าที่ติดตามอ่านบทความดู ผมยังไม่ได้พูดถึงกรณีของโครงสร้างแผ่นเหล็กที่จะทำหน้าที่รองรับแรงกดสำหรับโครงสร้างคานเหล็กรูปพรรณหรือ BEAM BEARING PLATE เลย … Read More

ตอกเสาเข็มเพื่องานสร้างใหม่ ยกระดับฐานรากที่มีคุณภาพ ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม ติดตั้งโดยผู้เชี่ยวชาญ

ตอกเสาเข็มเพื่องานสร้างใหม่ ยกระดับฐานรากที่มีคุณภาพ ด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ Spun Micro Pile และเสาเข็มไอไมโครไพล์ I-Micropile ภูมิสยาม ติดตั้งโดยผู้เชี่ยวชาญ ทุกงานก่อสร้าง ไม่ว่าจะงานสร้างใหม่ หรืองานอื่นๆ ก่อนที่จะลงเสาเข็ม ต้องมีการเจาะสำรวจดิน เพราะดินในแต่ละพื้นที่ มีระดับของชั้นดินที่ไม่เท่ากัน หากตอกเสาเข็มโดยที่ไม่มีการเจาะสำรวจดิน อาจส่งผลให้เกิดการทรุดตัวที่ไม่เท่ากัน และต้องมีการทำรายการคำนวณ … Read More

เทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า FEA

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ สืบเนื่องมาจากการที่มีรุ่นน้องวิศวกรท่านหนึ่งเค้าคงจะทราบมาว่าตัวผมนั้นเป็นสามัญวิศวกรโยธาที่ทำงานทางด้านการออกแบบและการเสริมกำลังให้แก่โครงสร้างมาก็ไม่น้อย เค้าจึงได้ฝากคำถามสั้นๆ แต่ได้ใจความเข้ามาคำถามหนึ่งในทำนองว่า อยากให้ผมให้ข้อแนะนำเกี่ยวกับเทคนิคการใช้งานซอฟต์แวร์ที่มีกระบวนการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยไฟไนต์อีลีเม้นต์ หรือ FINITE ELEMENT ANALYSIS หรือเขียนสั้นๆ ว่า … Read More

1 3 4 5 6 7 8 9 74