บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

ลักษณะโครงสร้างชั้นดินเหนียวกรุงเทพ หรือที่ฝรั่งเรียกกันว่า BANGKOK CLAY

ดินเหนียวอ่อนโดยทั่วไปเป็นดินท่ีตกตะกอนอยู่บริเวณปากแม่น้ํา โดยลักษณะการเกิดของดินเหนียวอ่อนบริเวณน้ำเม็ดดินจะถูกพัดพาจากแม่น้ำลงสู่ทะเลและน้ำทะเลก็หนุนกลับเข้ามาตกตะกอน ทําให้ชั้นดินเหนียวอ่อนนั้นมีทั้งแบบตกตะกอนในแม่น้ําและในทะเล ซึ่งเป็นลักษณะการเกิดของดินเหนียวอ่อนบริเวณลุ่มแม่น้ําเจ้าพระยาตอนล่างหรือที่เรียกว่าดินเหนียวกรุงเทพ (Bangkok Clay) โดยมีลักษณะเป็นชั้นดินเหนียวอ่อนหนาประมาณ 10-15 เมตร ชั้นถัดไปจะเป็นชั้นดินเหนียวแข็งและชั้นทรายสลับกันไป ดินเหนียวอ่อนกรุงเทพ (Bangkok Clay) มีลักษณะชั้นดินและคุณสมบัติของดิน ดังนี้ ชั้น Crust ที่มีความลึกประมาณ 0-2 เมตร … Read More

ประโยชน์ของเหล็กเสริม ที่ผิวล่างในพื้นคอนกรีตอัดแรงแบบมีแรงยึดเหนี่ยว

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ   เนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ผมได้รับคำถามมาจากน้องผู้หญิงท่านหนึ่งที่ตอนนี้กำลังศึกษาอยู่ในชั้นปีที่ 4 ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ในมหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่องโครงสร้างคอนกรีตอัดแรงเข้ามาคำถามหนึ่งโดยที่มีใจความของคำถามว่า “ตอนนี้หนูกำลังฝึกงานอยู่และที่ทำงานก็กำลังทำงานพื้น POST-TENSIONED FLAT PLATE อยู่พอดี ซึ่งตัวของหนูเองเคยได้ลงเรียนวิชา PRESTRESSED CONCRETE … Read More

คอนกรีต Topping

คุณสมบัติ คอนกรีตประเภทนี้ ถูกออกแบบส่วนผสมตามค่ากำลังอัดที่อายุ 28 วัน และค่าการยุบตัวสำหรับงานเทเข็มเจาะขนาดใหญ่ โดยมีการผสมคอนกรีตด้วยหน่วงการก่อตัว และลดปริมาณน้ำในส่วนผสม ตามมาตรฐาน ASTM C 494 ทำให้คอนกรีตมีความสามารถในการทำงานเพิ่มขึ้น ไม่เกิดการแยกตัวขณะเทคอนกรีต รวมถึงเพิ่มอายุการทำงานของคอนกรีตมากกว่า 4 ชั่วโมง 30 นาที เพื่อให้เหมาะสมกับงานเข็มเจาะขนาดใหญ่ … Read More

สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า

สวัสดีครับ สาระดีดีเกี่ยวกับการก่อสร้างและวิศวกรรม กับ Mr.เสาเข็ม มาอีกแล้วนะครับ วันนี้จะเป็นหัวข้อ สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่า สมการในการคำนวณหาหน่วยแรงลมสถิตเทียบเท่าจะพบว่าหน้าตาของสมการนี้เป็นดังต่อไปนี้นะครับ P = Iw q Ce Cg Cp ในวันนี้ผมอยากที่จะขออนุญาตมาขยายความถึงค่า Iw จากในสมการข้างต้น ซึ่งค่านี้ก็คือค่าประกอบความสำคัญของแรงลม ซึ่งจะสามารถจำแนกออกได้ตามลักษณะประเภทของอาคารโดยเกณฑ์ที่จะใช้ในการคำนึงถึง คือ … Read More

1 2 3 4 186