บล็อค บทความเพื่อให้ความรู้ เกร็ดความรู้ ทางด้านวิศวกรรมการก่อสร้างและฐานรากด้วยเสาเข็ม สปันไมโครไพล์ ซึ่งช่วยแก้ปัญหาและตอบโจทย์การก่อสร้างได้เพราะ
1) สามารถทำงานในที่แคบได้
2) ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะทางเสียง
3) หน้างานสะอาด ไม่มีดินโคลน
4) สามารถรับน้ำหนักได้ 20-50 ตัน/ต้น ขึ้นอยู่กับสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่
5) สามารถตอกชิดกำแพง ไม่ก่อให้โครงสร้างเดิมเสียหาย
บทความใหม่ๆ อัพเดทบนเพจ ภูมิสยาม ไมโครไพล์ http://bit.ly/2O6GBMu

เกี่ยวกับบริษัท-รับรองคุณภาพจาก SCG

    รับรองคุณภาพจาก SCG Certificate Endorsed Brand from SCG Caculation of Spun Micro Pile from SCG Cement Result of Analysis … Read More

เสาเข็มต่อเติมโรงงาน ที่นิคมอุตสาหกรรมบางชัน และ การทดสอบการรับน้ำหนัก โดย Dynamic Load Test

เสาเข็มต่อเติมโรงงาน ที่นิคมอุตสาหกรรมบางชัน และ การทดสอบการรับน้ำหนัก โดย Dynamic Load Test สวัสดีครับ ช่วงนี้งานต่อเติมโรงงาน ต่อเติมอาคาร หรือต่อเติมบ้านที่ให้บริการโดย BSP ภูมิสยาม กำลังมาแรงครับ และ ได้รับการตอบรับ อย่างต่อเนื่อง วันนี้ Mr.SpunMan … Read More

เสาเข็มเกิดการเยื้องศูนย์ออกไป จากที่วิศวกรผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันศุกร์ (แห่งชาติ) แบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะได้มาพูดคุยและเสวนากันถึงหัวข้อ “ฝากคำถาม-เราจะมาตอบให้” นะครับ ซึ่งวันนี้เป็นวันศุกร์วันแรกที่เราได้มาพบกันพบก็จะขอเริ่มต้นจากคำถามสดๆ ร้อนๆ ที่เพิ่งได้รับมาเมื่อวานจากน้องแฟนเพจผู้หญิงท่านหนึ่งซึ่งได้สอบถามเข้ามาโดยมีใจความของคำถามว่า “ขออนุญาตสอบถามเกี่ยวกับโพสต์ที่ผมเคยได้ทำการอธิบายถึงเรื่องกรณีที่โครงสร้างฐานรากที่เกิดปัญหาการที่เสาเข็มนั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไป (รูปที่ 1) ว่าเพราะเหตุใดเราจึงควรต้องทำการคำนวณหาว่าแรงปฏิกิริยาของเสาเข็มนั้นเป็นเท่าใดคะ ?” ซึ่งผมก็ได้ทำการตอบไปในเบื้องต้นว่า ถ้าหากเกิดเหตุการณ์ที่เสาเข็มของเรานั้นเกิดการเยื้องศูนย์ออกไปจากที่วิศวกรผู้ออกแบบได้ทำการกำหนดเอาไว้ … Read More

ความรู้ทางด้านงานออกแบบ เสาเข็มไมโครไพล์

วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้ทางด้านงานออกแบบที่เกี่ยวข้องกันกับการทำงานทางด้านวิศวกรรมโครงสร้างเชิงพลศาสตร์ต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่หัวข้อในวันนี้จะเกี่ยวข้องกับเรื่อง วิธีในการออกแบบงานวิศวกรรมโครงสร้างของอาคารเพื่อใช้ในการต้านทานแรงที่กระทำจากแผ่นดินไหว นั่นเองนะครับ โดยหากจะพูดกันถึงหัวข้อๆ นี้จะพบว่าเนื้อหานั้นค่อนข้างที่จะมีความยืดยาวมากพอสมควรเลย ผมจึงตัดสินใจที่จะทำการแบ่งออกเป็นตอนๆ โดยที่ในวันนี้จะเป็นตอนที่ 1 ซึ่งจะเป็นการกล่าวถึง หลักวิธีที่เราใช้ในการออกแบบ นะครับ หากเมื่อใดก็ตามที่เราพูดถึงแรงกระทำที่เกิดจากสภาวะการเกิดขึ้นของแผ่นดินไหว เราจะต้องอาศัยความพยายามสักเล็กน้อยในการที่จะจินตนาการให้ออกว่า แรงชนิดนี้เสมือนเป็นแรงที่เกิดจากการสั่นตัวของพื้นซึ่งจะทำให้อาคารนั้นเกิด การเคลื่อนที่ไปทางด้านข้าง หรือ เกิดการเซขึ้น ซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวนี้จะเป็นสิ่งที่บังคับให้โครงสร้างของอาคารที่เรากำลังพิจารณาออกแบบอยู่นั้นเกิดการเคลื่อนตัวไป … Read More

1 11 12 13 14 15 16 17 186