วิธีและขั้นตอนของการทดสอบการรั่วซึมของน้ำที่บริเวณชั้นดาดฟ้าของอาคาร

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ เวลาที่เราทำการออกแบบพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในกรณีที่ทำการก่อสร้างขึ้นในบริเวณทั่วๆ ไปของอาคาร เราจะพบเห็นได้ว่าบริเวณที่ขอบด้านบนและล่างของท้องพื้นนั้นจะเกิดเป็นรอยร้าวเล็กๆ ขึ้นเสมอและเมื่อวันเวลาผ่านไป รอยร้าวเหล่านั้นจะไม่เกิดการพัฒนาตัวเองจนเป็นรอยร้าวที่มีขนาดใหญ่โตมากยิ่งขึ้นซึ่งก็ถือได้ว่ากรณีนี้เป็นเรื่องปกติที่เกิดขึ้นอยู่แล้วนะครับ   หากพูดถึงกรณีของพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กแบบหล่อในที่ๆ ทำการก่อสร้างขึ้นในบริเวณที่เป็นชั้นดาดฟ้าหรือบริเวณพื้นที่แบบเปิด ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวจะเป็นพื้นที่ๆ ต้องสัมผัสกับแสงแดดและอากาศภายนอกอยู่ตลอดอายุการใช้งานของมัน เราก็จะพบเห็นได้ว่าบริเวณที่ขอบด้านบนและล่างของท้องพื้นนั้นจะเกิดเป็นรอยร้าวเล็กๆ เหมือนกันกับกรณีแรกแต่เมื่อวันเวลาผ่านไป … Read More

วิธีในการอ่านค่าบนเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ จริงๆ แล้วเนื้อหาที่ผมจะนำมาใช้เพื่อเป็นการพูดคุยกับเพื่อนๆ ในวันนี้ดูจะไม่ค่อยมีความเกี่ยวข้องกับชื่อหัวข้อนี้สักเท่าไหร่แต่ผมคิดว่าเอามาพูดถึงสักหน่อยก็ดีเหมือนกัน น่าจะมีเพื่อนๆ ของเราหลายๆ คนได้รับประโนชน์นั่นก็คือ เมื่อเร็วๆ นี้ผมได้ไปทำการตรวจสอบรายการวัสดุเหล็กที่เข้ามาในไซต์งาน ซึ่งพอผมเห็นก็ขอให้ทาง ผรม เปิดใบเซอร์ของเหล็กชุดนี้ให้ดู หลังจากนั้นก็ได้ทำการนำเอา … Read More

ระบบโครงสร้างฐานรากของอาคารในอดีตของประเทศไทย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในทุกๆ วันพฤหัสบดีแบบนี้ ผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม” นะครับ   ตามที่เพื่อนๆ ทราบกันดีว่าระบบฐานรากในปัจจุบันเราจะนิยมใช้เป็นเป็นระบบฐานราก ค.ส.ล โดยจะเป็นฐานรากที่วางลงไปบนดินโดยตรงซึ่งเราจะเรียกว่า BEARING FOUNDATION หรือว่าเป็น ฐานรากที่วางอยู่บนเสาเข็มซึ่งเราจะเรียกว่า PILE … Read More

การทรุดตัวของเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้ทำการแจ้งกับเพื่อนๆ ไปว่าในสัปดาห์นี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกและนำเอาตัวอย่างของการคำนวณหาค่าการทรุดตัวของเสาเข็มเนื่องจาก CONSOLIDATION SETTLEMENT ในกรณีที่โครงสร้างเสาเข็มของเรานั้นเป็นเสาเข็มกลุ่มให้เพื่อนๆ ได้รับชมกัน ดังนั้นเพื่อเป็นการไม่เสียเวลา เรามาดูรายละเอียดต่างๆ ของปัญหาที่จะใช้เป็นตัวอย่างในวันนี้กันเลยดีกว่านะครับ   ผมมีฐานรากที่จะต้องทำหน้าที่ในการรับน้ำหนักกระทำในแนวดิ่งใช้งานเท่ากับ 200 … Read More

การคำนวณหาค่า Element Stiffness Matrix เมื่ออ้างอิงไปยัง Local Coordinate

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ   โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ สำหรับนักเรียนและนักศึกษาที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ จากในรูปจะเป็นโครงสร้างโครงข้อแข็งที่มีลักษณะเป็น STATICALLY INDTERMINATE ซึ่งจะประกอบไปด้วยชิ้นส่วนทั้งหมด 3 ชิ้นส่วนและก็จะมีมิติต่างๆ ของโครงข้อแข็งดังในรูปที่แสดง … Read More

การคำนวณหาค่ากำลังในการรับน้ำหนักบรรทุกใช้งานของฐานรากที่เป็นเสาเข็มกลุ่ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ประเด็นที่ผมได้เลือกนำเอามาตั้งเป็นคำถามประจำสัปดาห์นั้นจะมีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้างที่ผมได้ทำการโพสต์ถึงในสัปดาห์ที่ผ่านมาและก็เหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ   ผมมีความจำเป็นที่จะต้องใช้เสาเข็มระบบเจาะหรือ BORED PILE ในการก่อสร้างฐานรากของอาคารภายในโครงการก่อสร้างแห่งนี้ ซึ่งเสาเข็มเจาะที่จะใช้นั้นจะมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 500 มม … Read More

การเลือกใช้งานระบบฐานรากเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันพุธแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ตามที่ผมได้เรียนให้เพื่อนๆ ทราบไปในการโพสต์ของเมื่อสัปดาห์ก่อนว่า วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการอธิบายและลงรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่อง วิธีการคำนวณโดยละเอียด ซึ่งแน่นอนว่าวิธีการดังกล่าวนี้ย่อมที่จะทำให้เกิดความประหยัดที่มากกว่าวิธีการข้างต้นนี้ค่อนข้างที่จะมากเลยและก็แน่นอนว่า วิธีการนี้ก็ย่อมมีความเหมาะสมที่จะนำไปใช้กับงานก่อสร้างที่มีการควบคุมการทำงานก่อสร้างโครงสร้างเสาเข็มเป็นอย่างดีนั่นเอง อีกครั้งหนึ่งก็แล้วกันนั่นก็คือ สำหรับการวิเคราะห์หาค่ากำลังรับน้ำหนักบรรทุกประลัยของเสาเข็มกลุ่มเมื่อเสาเข็มนั้นถูกวางตัวอยู่ในชั้นดินเหนียวนั้นจะต้องมีข้อแม้ที่เป็นไปตามที่ผมได้อธิบายไปก่อนหน้านี้นั่นก็คือ ระยะห่างระหว่างโครงสร้างเสาเข็มนั้นควรจะต้องมีการวางตัวห่างกันไม่น้อยกว่า 3 เท่าของขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเสาเข็มเอง สำหรับค่า … Read More

วิศวกรรมงานฐานรากงานดินและเสาเข็ม

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้ในหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมการคำนวณ” โดยที่หัวข้อของวิทยาการในการคำนวณในวันนี้จะมีความเกี่ยวข้องกันกับความรู้ดีๆ เรื่องวิศวกรรมงานฐานราก งานดินและเสาเข็ม นะครับ เนื่องจากผมยังค้างเพื่อนๆ ถึงการอธิบายเกี่ยวกับเรื่องที่มาที่ไปของวิธีในการคำนวณหาค่า Kr1 ค่า Kr2 และค่า Ka โดยการประมาณการค่าตามเนื้อหาที่ผมได้อธิบายไปแล้วในโพสต์ของเมื่อวานนี้ ผมเลยมีความคิดว่าไหนๆ ก็ไหนๆ แล้วเรามาอธิบายให้จบกันไปเลยจะดีกว่า … Read More

ต่อเติมโรงงานในพื้นที่จำกัด แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถเข้าทำงานในที่แคบได้สะดวก และรวดเร็ว

ต่อเติมโรงงานในพื้นที่จำกัด แนะนำใช้เสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micropile) สามารถเข้าทำงานในที่แคบได้สะดวก และรวดเร็ว เสาเข็มสปันไมโครไพล์ สามารถรับน้ำหนักปลอดภัยได้ 15-50 ตัน/ต้น (ขึ้นอยู่กับขนาดเสาเข็มและสภาพชั้นดินแต่ละพื้นที่) ทดสอบการรับน้ำหนักโดย Dynamic Load Test และการรับน้ำหนักที่ได้มาตรฐานตามหลักวิศวกรรมการก่อสร้าง ใช้วิธีการตอกเสาเข็มชนิดนี้ ด้วยปั้นจั่นชนิดพิเศษ ที่มีความยาวแนวราบ 3 … Read More

ความรู้เรื่องวิศวกรรมความปลอดภัย

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ ผมเชื่อเหลือเกินว่า หากเราพูดถึงแขนงหรือสาขาหนึ่งของงานวิศวกรรมที่มีความเกี่ยวข้องกับคุณผู้หญิง ผมคิดว่าสาขาหนึ่งที่พวกเรามักจะนึกถึงกันแทบจะในทันที่เลยก็คือ สาขาวิศวกรรมความปลอดภัย หรือ SAFETY ENGINEERING ซึ่งหากเรามาดูในรายละเอียดแล้วเราอาจจะตกใจว่า สาขาๆ นี้จริงๆ แล้วมีรายละเอียดของการเรียนที่น่าตกใจผิดไปจากชื่อของมันมากเลย ดังนั้นในวันนี้ผมจะขออนุญาตมาพูดถึงหัวข้อๆ … Read More

1 11 12 13 14 15 16 17 74