วิธีในการคำนวณหาตำแหน่งที่จะใช้ เพื่อการคำนวณหาค่าการเสียรูปในทิศทางของแนวดิ่ง ที่มีค่ามากที่สุดในคานรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ สืบเนื่องจากโพสต์ก่อนหน้านี้ที่ผมเคยได้ทำการอธิบายไปว่า สำหรับกรณีที่โครงสร้างคานรับแรงดัดของเรานั้นมีจุดรองรับอยู่ที่ปลายของทั้งสองด้าน ค่าการโก่งตัวในแนวดิ่งสูงสุดหรือ MAXIMUM VERTICAL DEFLECTION จะเกิดขึ้นที่ตำแหน่งที่ค่ามุมของการหมุนหรือ ANGLE OF ROTATION นั้นมีค่า “น้อยที่สุด” … Read More

ปัญหาการคำนวณหาค่าการโก่งตัวค่าสูงสุดของคาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมได้ทำการหยิบยกเอาคำถามที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง เอามาเป็นคำถามประจำสัปดาห์เพื่อให้มีความต่อเนื่องจากคำถามในสัปดาห์ที่แล้วด้วยและเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากผมมีคานรับแรงดัดที่จะต้องรับน้ำหนักบรรทุกดังที่ได้แสดงอยู่ในรูป โดยคานจะต้องรับน้ำหนักบรรทุกแบบกระทำโดยแผ่กระจายตัวสม่ำเสมอหรือ UNIFORMLY DISTRIBUTED LOAD มีค่าเท่ากับ 1,000 … Read More

ปัญหาการคำนวณค่าการโก่งตัวที่ตำแหน่งกึ่งกลางของช่วงความยาวของคาน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมได้ทำการหยิบยกเอาคำถามที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง เอามาเป็นคำถามประจำสัปดาห์และเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากผมมีคานรับแรงดัดที่จะต้องรับน้ำหนักบรรทุกดังที่ได้แสดงอยู่ในรูป โดยคานจะต้องรับน้ำหนักบรรทุกแบบกระทำโดยแผ่กระจายตัวสม่ำเสมอหรือ UNIFORMLY DISTRIBUTED LOAD มีค่าเท่ากับ 1,000 … Read More

การหาคำนวณหาค่าการโก่งตัวของคานรับแรงดัด

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เพื่อคุณผู้หญิง” นะครับ เนื่องจากเมื่อประมาณหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ที่ผมได้ทำการโพสต์ไปก่อนหน้านี้ถึงเรื่อง การเป็นผู้หญิงจะมีข้อดีอย่างไรบ้างหากตัดสินใจที่จะมาประกอบอาชีพเป็นวิศวกรโยธา ผลปรากฏว่าก็มีน้องๆ ผู้หญิงหลายคนเลยทักเข้ามาสอบถามผมทางอินบ็อกซ์เกี่ยวกับเรื่องๆ นี้ซึ่งผมก็ได้ให้คำแนะนำไปในหลายๆ เรื่องเลย ก็คาดหวังว่าคำแนะนำของผมน่าที่จะยังประโยชน์ต่อน้องๆ ไม่มากก็น้อยนะครับ วันนี้ผมจะขออนุญาตหยิบยกนำเอาประเด็นคำถามของน้องผู้หญิงท่านหนึ่งที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นปีที่ 3 ในสาขาวิศวกรรมโยธา โดยที่ตอนนี้น้องกำลังเรียนวิชาการออกแบบโครงสร้างเหล็กหรือ STRUCTURAL STEEL … Read More

การนำเอา KernPoint มาช่วยพิจารณาว่าจะเกิดแรงเค้นดึงขึ้นในหน้าตัดโครงสร้างหรือไม่

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” นะครับ ต่อเนื่องจากสัปดาห์ที่แล้วที่ผมได้เรียนให้แก่เพื่อนๆ ทุกๆ คนทราบว่า เพื่อให้เพื่อนๆ ได้มีความเข้าใจในเรื่องของ KERN POINT นี้ที่มากยิ่งขึ้น ผมจะขออนุญาตนำเอาเรื่องที่มาที่ไปของเจ้า KERN POINT นี้มาทำการอธิบายให้แก่เพื่อนๆ … Read More

การนำเอา KernPoint มาช่วยพิจารณาว่าจะเกิดแรงเค้นดึงขึ้นในหน้าตัดโครงสร้างหรือไม่

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันอังคารแบบนี้อีกครั้งหนึ่ง ซึ่งในวันนี้ผมยังคงอยู่นอกสถานที่อยู่ ยังไม่สะดวกที่จะทำการอัดคลิปให้แก่เพื่อนๆ ผมจึงจะขออนุญาตที่จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ความรู้ดีๆ เรื่องประสบการณ์งานคำนวณออกแบบและการก่อสร้าง” ก่อนนะครับ อย่างที่ผมได้เรียนเพื่อนๆ ไปเมื่อสัปดาห์ที่แล้วว่าในสัปดาห์นี้เราจะมาดูตัวอย่างง่ายๆ กันสักหนึ่งข้อเกี่ยวกับเรื่องการคำนวณหาว่า ภายในหน้าตัดโครงสร้างของเรานั้นจะเกิดแรงเค้นดึงหรือ TENSILE STRESS ขึ้นหรือไม่โดยอาศัยการคำนวณจากค่า KERN POINT … Read More

วิธีที่ดีที่สุดในการยกแท่งคอนกรีต

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันในทุกๆ วันเสาร์แบบนี้อีกครั้งหนึ่งซึ่งผมก็จะมาพบกับเพื่อนๆ เพื่อที่จะพูดคุยกันถึงหัวข้อ “ถาม-ตอบชวนสนุก” กันนะครับ โดยที่ในวันนี้ผมได้ทำการหยิบยกเอาคำถามที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง พื้นฐานการคำนวณทางด้านกลศาสตร์ เอามาเป็นคำถามประจำสัปดาห์และเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากผมมีความต้องการที่จะทำการเคลื่อนย้ายโดยที่ผมจะใช้วิธีการยกแท่งคอนกรีตขนาดความยาวเท่ากับ 20 เมตร ซึ่งมีน้ำหนักเท่ากับ 2 ตัน โดยการยกนี้ผมจะอาศัยลวดสลิงในการผูกไว้ที่ตำแหน่งตามในรูป (A) … Read More

การคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปแบบของสปริงยืดหยุ่น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน กลับมาพบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันเสาร์แบบนี้ โดยสืบเนื่องจากในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมานั้นผมได้ทำการพูดถึงเรื่องการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปแบบของสปริงยืดหยุ่นทั้งค่า Ksv และ Ksh สำหรับใช้ในการวิเคราะห์โครงสร้างฐานรากให้แก่เพื่อนๆ ไปแล้ว ดังนั้นในวันนี้ผมเลยคิดว่าน่าจะลองโพสต์ถามเพื่อนๆ ดูเพื่อที่จะตรวจสอบดูสิว่าเพื่อนๆ จะมีความเข้าใจในเรื่องๆ นี้มากน้อยเพียงใดและเหมือนเช่นเคยผมคงจะต้องออกตัวอีกครั้งหนึ่งว่า คำถามประจำสัปดาห์นี้สุดแสนจะง่ายมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ โดยที่โจทย์ในวันนี้ก็คือ หากมีฐานรากที่มีขนาดความกว้าง ยาว และ ลึก เท่ากับ … Read More

รอยร้าวที่เกิดขึ้น เนื่องจากอาคารเกิดการเสียรูปแบบแยกตัวหรือว่าเกิดการทรุดตัวที่มีความแตกต่างกัน

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ โดยที่ผมจะนำเอาภาพของปัญหาๆ หนี่งที่พวกเรามักพบกันอยู่บ่อยๆ ในงานการก่อสร้างใหม่หรืองานก่อสร้างต่อเติมระหว่างอาคาร 2 อาคารนั่นก็คือ รอยร้าวที่เกิดขึ้นเนื่องจากอาคารทั้งสองนี้เกิดการเสียรูปแบบแยกตัวหรือว่าเกิดการทรุดตัวที่มีความแตกต่างกัน นั่นเองนะครับ จากรูปเพื่อนๆ จะสามารถเห็นได้ว่าที่บริเวณพื้นจะมีรอยร้าวเกิดขึ้นตลอดตามความกว้างของช่องทางเดิน ซึ่งก็จะเห็นได้ว่าได้มีการพยายามที่จะซ่อมแซมรอยร้าวดังกล่าวโดยการอุดด้วยวัสดุอุดรอยร้าวแต่ถึงกระนั้นก็ไม่สามารถที่จะทำให้รอยร้าวดังกล่าวหายไปได้อยู่ดีครับ   จริงๆ แล้วการที่เกิดรอยร้าวดังกล่าวนี้ขึ้นก็อาจจะไม่ได้ถือว่าเป็นปัญหาในการใช้งานโครงสร้างอาคารของเราเท่าใดนักนะครับ นั่นเป็นเพราะว่ารอยร้าวดังกล่าวนี้เกิดจากการที่อาคารทั้งสองนี้เกิดการการเสียรูปแบบแยกตัวหรือว่าเกิดการทรุดตัวที่มีความแตกต่างกัน … Read More

ขั้นตอนในการคำนวณหาค่าความแข็งแกร่งของดินในรูปของค่าสปริงยืดหยุ่นของฐานรากแบบตื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เพื่อให้เนื้อหาของเรานั้นมีความต่อเนื่องจากเมื่อสองสัปดาห์ก่อน วันนี้ผมก็จะมาทำการยกตัวอย่างในการคำนวณหาค่า Ksv นี้ให้แก่เพื่อนๆ ได้รับทราบกัน เรามาเริ่มต้นดูรายละเอียดของปัญหาข้อนี้กันเลยดีกว่านะครับ   ผมมีฐานรากร่วมที่มีขนาดความยาวเท่ากับ 7.50 เมตร ความกว้างเท่ากับ … Read More

1 12 13 14 15 16 17 18 74