วิธีในการวิเคราะห์โครงสร้างด้วยวิธีการที่มีความทันสมัยใหม่ หรือ ADVANCED STRUCTURAL ANALYSIS METHOD

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่ผมได้พาเพื่อนๆ รับทราบและรับชมกันไปแล้วถึงเรื่องเนื้อหาต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ปัญหาในการวิเคราะห์โครงสร้างที่มีลักษณะอย่างง่ายที่เราสามารถจะทำการวิเคราะห์โครงสร้างได้ด้วยหลักการทางสถิตยศาสตร์ โดยเริ่มต้นตั้งแต่ระบบโครงสร้างพื้นฐาน การเขียนแผนภาพของแรงภายในต่างๆ เช่น แผนภาพขงแรงระทำตามแนวแกน แผนภาพของแรงเฉือน แผนภาพของแรงดัด เป็นต้น การวิเคราะห์หาค่าการเสียรูป ณ … Read More

ชิ้นส่วนโครงสร้างยึดรั้งเหล็กที่จะไร้ซึ่งการโก่งเดาะ หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า STEEL BUCKLING RETSTRAINED BRACE (SBRB)

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในช่วยปลายของสัปดาห์นี้ไปจนถึงช่วงปลายๆ ของสัปดาห์หน้า แอดมินมีกำหนดการที่จะต้องเดินทางไป ณ ประเทศไต้หวัน เพื่อไปนำเสนอผลงานการทำงานวิจัยในระดับ ป เอก ที่กำลังศึกษาอยู่ ทางแอดมินจึงอยากจะขออนุญาตเพื่อนๆ ทุกคนทำการปรับเปลี่ยนผังและแผนของการโพสต์สักเล็กน้อย ทั้งนี้ก็เพื่อให้แอดมินนั้นสะดวกและเราเราก็ยังจะได้สามารถพบกันได้ในทุกๆ วันเหมือนเช่นเคยได้นั่นเองครับ วันนี้ผมได้ทำการนำเสนอผลงานการวิจัยเสร็จเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ตอนเย็นๆ พอเสร็จจากงานประชุมเลยมีโอกาสได้มาเดินชมนิทรรศการที่บรรดาสปอนเซอร์และห้างร้านต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับแผ่นดินไหวได้ทำการแสดงอยู่และมีโอกาสได้ไปพบเจอกับบริษัทที่มีการจัดจำหน่ายอุปกรณ์ๆ หนึ่งที่ถือได้ว่ามีความน่าสนใจและในขณะนี้ก็ได้มีการนำเอาผลจากการทำงานวิจัยไปต่อยอดใช้ในงานโครงสร้างจริงๆ … Read More

ต่อเติมบ้านด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) โดยภูมิสยาม เสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก.397-2524

ต่อเติมบ้านด้วยเสาเข็มสปันไมโครไพล์ (Spun Micro Pile) โดยภูมิสยาม เสาเข็มคุณภาพมาตรฐาน มอก.397-2524 ทำไมลูกค้าถึงแนะนำและเลือกใช้เสาเข็มและบริการโดยภูมิสยาม เพราะเสาเข็มภูมิสยามได้รับมาตรฐาน มาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กแบบแรงเหวี่ยง มอก.397-2562 และมาตรฐานเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กอัดแรงหล่อสำเร็จ มอก.396-2549 การผลิตและตอกได้มาตรฐาน ISO 9001:2015 และชีวอนามัยด้านความปลอดภัย ISO 45001:2018 เหมาะสำหรับงานต่อเติมบ้าน … Read More

ระบบของฐานรากของอาคารเบิร์จคาลิฟา และหอเอนปีซ่า

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน เนื่องจากในช่วยปลายของสัปดาห์นี้ไปจนถึงช่วงปลายๆ ของสัปดาห์หน้า แอดมินมีกำหนดการที่จะต้องเดินทางไป ณ ประเทศไต้หวัน เพื่อไปนำเสนอผลงานการทำงานวิจัยในระดับ ป เอก ที่กำลังศึกษาอยู่ ทางแอดมินจึงอยากจะขออนุญาตเพื่อนๆ ทุกคนทำการปรับเปลี่ยนผังและแผนของการโพสต์สักเล็กน้อย ทั้งนี้ก็เพื่อให้แอดมินนั้นสะดวกและเราเราก็ยังจะได้สามารถพบกันได้ในทุกๆ วันเหมือนเช่นเคยได้นั่นเองครับ   ในวันอาทิตย์แบบนี้ ผมก็จะนำเอาคำถามหรือปัญหาประจำสัปดาห์ที่ได้ฝากเอาไว้เมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมาๆ เฉลยให้แก่เพื่อนๆ ทุกคนนะครับ … Read More

การออกแบบแผ่นพื้น

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะมาร่วมกันเสวนาถึงคำถามที่ผมได้เชิญชวนให้เพื่อนๆ ให้มาร่วมสนุกตอบคำถามร่วมกันเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมาโดยที่คำถามก็คือ ผมมีแผ่นพื้นช่วงเดียวที่มีขนาดความยาวเท่ากับ 4.00 ม และ ความกว้างเท่ากับ 2.00 ม โดยที่จะมีคานที่ทำหน้าที่ในการรองรับพื้นอยู่จำนวน 2 คานและจะอยู่เฉพาะแค่ตรงปลายของด้านยาวตามรูปแปลนที่แสดงอยู่ในรูปของโพสต์ๆ นี้ หากว่าผมต้องการที่จะทำการออกแบบพื้นแผ่นนี้ โดยที่ไม่ต้องการจะทำการตรวจสอบหาค่าระยะการโก่งตัวในแนวดิ่งของแผ่นพื้น ผมจะต้องใช้ความหนาของแผ่นพื้นแผ่นนี้ไม่น้อยกว่าเท่าใด โดยกำหนดให้ใช้ คอนกรีต … Read More

เทคนิคและขั้นตอนในการตรวจการทำงานการก่อสร้างฐานรากแบบแผ่

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากได้มีเพื่อนของผมท่านหนึ่ง (ในเฟซบุ้ค) ได้เข้ามาพูดคุยและปรึกษากีบผมหลังไมค์ถึงเรื่องราวสัพเพเหระต่างๆ กับผมและยังได้เล่าด้วยว่าเมื่อช่วงวันหยุดยาวเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้าเพื่อนท่านนี้ได้มีโอกาสไปเที่ยวต่างจังหวัดมาและก็มีโอกาสได้ไปยังสถานที่แห่งหนึ่งซึ่งพอดูแล้วก็รู้สึกคุ้นๆ ยังไงชอบกล เค้าเลยถ่ายรูปกลับมาสอบถามกับผมว่า โครงสร้างดังในรูปใช่ฝีมือการออกแบบของผมใช่หรือไม่ ผมจึงได้ตอบไปว่า ใช่ครับ โครงสร้างในรูปที่นำมาสอบถามผมนี้ผมได้ทำการออกแบบงานโครงสร้างชิ้นนี้ไวนานหลายปีแล้ว เพื่อนท่านนี้ก็ดีใจใหญ่ จึงขอร้องแกมบังคับให้ผมช่วยทำการถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ ของงานออกแบบชิ้นนี้ให้เค้าฟังหน่อย ซึ่งผมก็ไม่รู้จะปฏิเสธอย่างไรเสียด้วย … Read More

ประเภทของการออกแบบและการใช้งานโครงสร้างเหล็กแผ่นที่จะมีหน้าที่ในการรับแรงอัดจากเสาเหล็ก หรือเรียกง่ายๆ ว่าโครงสร้าง BASE PLATE

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ หลังจากที่ก่อนหน้านี้ผมได้เคยโพสต์และให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ประเภทของการออกแบบและการใช้งานโครงสร้างเหล็กแผ่นที่จะมีหน้าที่ในการรับแรงอัดจากเสาเหล็ก หรือเรียกง่ายๆ ว่าโครงสร้าง BASE PLATE ว่ามีทั้งหมด 2 ประเภทด้วยกัน ประเภทที่ 1 ได้แก่แบบที่ไม่มีการเทให้เต็มด้วยซีเมนต์ชนิดไม่มีการหดตัวหรือ NON-SHRINK GROUT … Read More

วิธีในการประยุกต์ใช้กับโครงสร้างประเภท โครงข้อแข็ง หรือ RIGID FRAME

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน พบกันอีกครั้งหนึ่งในบ่ายวันจันทร์แบบนี้ วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การเตรียมตัวสอบเพื่อที่จะได้ใบประกอบวิชาชีพวิศวกรโยธา มาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ ขณะนี้ผมกำลังพาเพื่อนๆ ทบทวนเนื้อหาอยู่ภายในหัวข้อ การนำเอาวิธีการที่มีชื่อเรียกว่า วิธีการงานน้อยที่สุด หรือชื่อในภาษาอังกฤษว่า LEAST WORK METHOD ซึ่งถือได้ว่าวิธีการนี้เป็น CLASSICAL METHOD วิธีการหนึ่งเลยก็ว่าได้ โดยที่วิธีการนี้จะเป็นการต่อยอดนำเอาวิธี … Read More

ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล และการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน วันนี้ผมจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ความรู้และวิธีในการอ่านข้อมูล ซึ่งจะรวมไปถึงการนำข้อมูลจากผลการทดสอบดินหรือ BORING LOG ไปใช้งานมาฝากเพื่อนๆ ทุกคนนะครับ เนื่องจากเมื่อหลายสัปดาห์ก่อนหน้านี้ได้เกิดเหตุปัญหาต่างๆ ขึ้นและผมก็ได้ช่วยให้คำตอบแก่แฟนเพจไป ในที่สุดวันนี้เราก็ได้กลับมาเข้าสู่การโพสต์เนื้อหาตามปกติแล้วนะครับ ซึ่งในครั้งสุดท้ายที่ผมได้โพสต์ก็คือ ประเด็นที่มีความเกี่ยวข้องกันกับเรื่อง ค่าความสามารถในการรับกำลังแบกทานของดินตามทฤษฎีของ TERZAGHI ทั้งกรณีแบบที่มีน้ำใต้ดินและไม่มีน้ำใต้ดิน ดังนั้นในวันนี้ผมจะมาทำการอธิบายต่อถึงหัวข้อที่ว่า หากเราไม่ได้ทำการเก็บตัวอย่างของดินมาเพื่อทำการทดสอบหาคุณสมบัติต่างๆ ภายในห้องปฏิบัติการแล้วเราจะมีวิธีการอื่นๆ … Read More

ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ

สวัสดีครับแฟนเพจที่รักทุกๆ ท่าน ในวันนี้ผมยังจะขออนุญาตมาทำการโพสต์และแชร์ความรู้เกี่ยวกับเรื่อง ปัญหาและเทคนิคในการทำงานก่อสร้างโครงสร้างประเภทต่างๆ ต่อเนื่องจากโพสต์ของเมื่อวาน โดยที่ผมจะขอเท้าความสักเล็กน้อยก่อนที่จะเริ่มต้นการโพสต์ในวันนี้ดังนี้ครับ เนื่องจากเมื่อเย็นของเมื่อวานนี้ได้มีน้องนักศึกษาท่านหนึ่งได้อินบ็อกซ์เข้ามาปรึกษาผมและได้แจ้งว่าอยากจะรบกวนให้ช่วยอธิบายและแสดงวิธีในการแก้ปัญหาในกรณีที่โครงสร้างๆ คานยื่นโครงสร้างหนึ่งซึ่งมีรูปทรงแปลกๆ ดังรูปที่แสดง นั่นก็คือค่าความสูงของหน้าตัดจะมีค่าไม่คงที่ตลอดความยาวของคานนั่นเอง ซึ่งน้องได้แจ้งว่าต้องนำเอาคำตอบไปใช้ค่อนข้างด่วน โดยที่ใจความของคำถามนั้นมีอยู่ว่า   มีคานยื่นที่มีความยาวของช่วงยื่นเท่ากับ 400 มม หรือ 40 ซม หรือ … Read More

1 14 15 16 17 18 19 20 74